
รู้จัก ย่างกุ้ง เมืองเศรษฐกิจสำคัญ ของเมียนมา
รู้จัก ย่างกุ้ง เมืองเศรษฐกิจสำคัญ ของเมียนมา /โดย ลงทุนแมน
แม้ว่าปัจจุบัน เมืองหลวงของเมียนมา ถูกย้ายไปยังกรุงเนปยีดอ 15 ปีแล้ว
แต่หลายคนก็คงจะคุ้นเคยกันดี กับชื่อเมืองหลวงเก่า อย่าง “ย่างกุ้ง”
แต่หลายคนก็คงจะคุ้นเคยกันดี กับชื่อเมืองหลวงเก่า อย่าง “ย่างกุ้ง”
แม้จะไม่ได้เป็นเมืองหลวงของประเทศแล้ว
แต่ ย่างกุ้ง ก็ยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญอย่างมากต่อประเทศเมียนมา
โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจ
แต่ ย่างกุ้ง ก็ยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญอย่างมากต่อประเทศเมียนมา
โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจ
แล้ววันนี้ เศรษฐกิจของเมืองย่างกุ้ง มีความสำคัญกับประเทศเมียนมา มากแค่ไหน ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ย่างกุ้ง อดีตนั้นมีชื่อเดิมว่า ดากอง ซึ่งเป็นหมู่บ้านชาวประมงเล็กๆ
และมีสถานที่สำคัญของเมือง คือ เจดีย์ชเวดากอง
ที่เป็นหนึ่งสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนาที่ขึ้นชื่อมากที่สุดแห่งหนึ่งของเมียนมา
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ย่างกุ้ง อดีตนั้นมีชื่อเดิมว่า ดากอง ซึ่งเป็นหมู่บ้านชาวประมงเล็กๆ
และมีสถานที่สำคัญของเมือง คือ เจดีย์ชเวดากอง
ที่เป็นหนึ่งสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนาที่ขึ้นชื่อมากที่สุดแห่งหนึ่งของเมียนมา
ต่อมาในปี ค.ศ. 1755 พระเจ้าอลองพญา กษัตริย์ของเมียนมาในยุคสมัยนั้น สั่งให้มีการบูรณะเมืองดากองให้เป็นเมืองสำคัญ พร้อมกับสถาปนาชื่อใหม่ที่มีชื่อว่า “ย่างกุ้ง (Yangon)”
ความรุ่งเรืองจากการบูรณะเมืองครั้งใหญ่ในครั้งนั้น
ดึงดูดให้ประชากรชาวเมียนมา อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ณ เมืองย่างกุ้งเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ดึงดูดให้ประชากรชาวเมียนมา อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ณ เมืองย่างกุ้งเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ต่อมาในยุคล่าอาณานิคม
เมียนมาตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ตั้งแต่ปี 1824
เมียนมาตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ตั้งแต่ปี 1824
อังกฤษได้เข้ามาทำการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง
ให้กลายเป็นศูนย์กลางทางการค้า และการเมืองของประเทศ
พร้อมทั้งแต่งตั้งให้ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของเมียนมา ในปี 1853
ให้กลายเป็นศูนย์กลางทางการค้า และการเมืองของประเทศ
พร้อมทั้งแต่งตั้งให้ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของเมียนมา ในปี 1853
ย่างกุ้งภายใต้อาณานิคมของอังกฤษเกิดการพัฒนาอย่างรวดเร็ว
มีการจัดตั้งสถานพยาบาล, ระบบคมนาคมขั้นพื้นฐาน, สถานศึกษา และก่อตั้งมหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ขึ้นในปี 1878 ซึ่งนับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศเมียนมา
มีการจัดตั้งสถานพยาบาล, ระบบคมนาคมขั้นพื้นฐาน, สถานศึกษา และก่อตั้งมหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ขึ้นในปี 1878 ซึ่งนับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศเมียนมา
ย่างกุ้ง ทำหน้าที่เป็นเมืองหลวงของเมียนมาถึง 153 ปี
ก่อนที่ต่อมารัฐบาลทหารของเมียนมา ได้ย้ายเมืองหลวงจากย่างกุ้ง ไปยัง กรุงเนปยีดอ ในปี 2006
ทำให้ย่างกุ้ง ได้ยุติบทบาทของการเป็นเมืองหลวงลง ตั้งแต่ตอนนั้น
ก่อนที่ต่อมารัฐบาลทหารของเมียนมา ได้ย้ายเมืองหลวงจากย่างกุ้ง ไปยัง กรุงเนปยีดอ ในปี 2006
ทำให้ย่างกุ้ง ได้ยุติบทบาทของการเป็นเมืองหลวงลง ตั้งแต่ตอนนั้น
ปัจจุบัน ย่างกุ้งมีพื้นที่รวม 10,170 ตารางกิโลเมตร
ซึ่งคิดเป็นประมาณ 1.5% ของพื้นที่ทั้งหมดในประเทศ
ขณะที่ย่างกุ้งมีจำนวนประชากรประมาณ 7.3 ล้านคน
หรือคิดเป็นประมาณ 14% ของจำนวนประชากรเมียนมา
ซึ่งคิดเป็นประมาณ 1.5% ของพื้นที่ทั้งหมดในประเทศ
ขณะที่ย่างกุ้งมีจำนวนประชากรประมาณ 7.3 ล้านคน
หรือคิดเป็นประมาณ 14% ของจำนวนประชากรเมียนมา
แม้ปัจจุบัน เมืองหลวงของเมียนมา ถูกย้ายไปอยู่เมืองเนปยีดอแล้ว
แต่ย่างกุ้งยังคงมีบทบาทเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ, อุตสาหกรรม, การค้า, การลงทุน, การเดินทาง, การท่องเที่ยว และเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าสำคัญของเมียนมา
แต่ย่างกุ้งยังคงมีบทบาทเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ, อุตสาหกรรม, การค้า, การลงทุน, การเดินทาง, การท่องเที่ยว และเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าสำคัญของเมียนมา
ที่นี่ยังเป็นที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจพิเศษติละวา
ซึ่งมีพื้นที่รวมกันประมาณ 15,000 ไร่
ที่ใช้เงินลงทุนพัฒนาเขตเศรษฐกิจแห่งนี้ไปกว่า 98,400 ล้านบาท
ซึ่งมีพื้นที่รวมกันประมาณ 15,000 ไร่
ที่ใช้เงินลงทุนพัฒนาเขตเศรษฐกิจแห่งนี้ไปกว่า 98,400 ล้านบาท
ซึ่งเขตเศรษฐกิจพิเศษติละวาเป็นการลงทุนร่วมกันระหว่างรัฐบาลเมียนมา กับบริษัทเอกชนญี่ปุ่นอีก 3 แห่ง
โดยรัฐบาลเมียนมาถือหุ้นในโครงการดังกล่าว 51%
และบริษัทเอกชนญี่ปุ่น 3 แห่ง คือ บริษัท Mitsubishi Corp., Marubeni Corp. และ Sumitomo Corp. ที่ถือหุ้นรวมกัน 49%
และบริษัทเอกชนญี่ปุ่น 3 แห่ง คือ บริษัท Mitsubishi Corp., Marubeni Corp. และ Sumitomo Corp. ที่ถือหุ้นรวมกัน 49%
เขตเศรษฐกิจแห่งนี้ ทางรัฐบาลเมียนมาใช้เพื่อรองรับโครงการลงทุนขนาดใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมไฮเทค อุตสาหกรรมสิ่งทอ และอุตสาหกรรมการผลิตเป็นหลัก
ด้วยการเป็นที่ตั้งของเศรษฐกิจพิเศษนี้เอง
ทำให้ขนาดเศรษฐกิจของเมืองย่างกุ้ง มีขนาดใหญ่
เมื่อเทียบกับเศรษฐกิจทั้งประเทศเมียนมา
ทำให้ขนาดเศรษฐกิจของเมืองย่างกุ้ง มีขนาดใหญ่
เมื่อเทียบกับเศรษฐกิจทั้งประเทศเมียนมา
โดยในปี 2018 มูลค่า GDP ของย่างกุ้ง สูงกว่า 570,000 ล้านบาท
หรือคิดเป็นสัดส่วนกว่า 1 ใน 4 ของมูลค่า GDP ทั้งประเทศ
หรือคิดเป็นสัดส่วนกว่า 1 ใน 4 ของมูลค่า GDP ทั้งประเทศ
ในแง่ของการเดินทางและการท่องเที่ยว
ย่างกุ้งยังเป็นที่ตั้งของหนึ่งในสนามบินนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดของเมียนมา
ย่างกุ้งยังเป็นที่ตั้งของหนึ่งในสนามบินนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดของเมียนมา
โดยในปี 2018 มีผู้โดยสารเดินทางมาใช้บริการสนามบินนานาชาติย่างกุ้ง กว่า 6.1 ล้านคน
ซึ่ง 64% เป็นผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศ
ซึ่ง 64% เป็นผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศ
ภายในตัวเมืองย่างกุ้ง ยังมีสวนสาธารณะ และทะเลสาบที่กว้างขวาง
ทั้งยังมีอาคารที่ทันสมัย และสถาปัตยกรรมไม้แบบดั้งเดิม
ทำให้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ “สวนเมืองแห่งทิศตะวันออก” หรือ The Garden City of the East
ทั้งยังมีอาคารที่ทันสมัย และสถาปัตยกรรมไม้แบบดั้งเดิม
ทำให้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ “สวนเมืองแห่งทิศตะวันออก” หรือ The Garden City of the East
เมืองย่างกุ้งยังเป็นที่ตั้งของ Myanmar Investment Commission
ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่อนุมัติการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติที่ต้องการเข้าไปลงทุนในเมียนมา
ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่อนุมัติการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติที่ต้องการเข้าไปลงทุนในเมียนมา
ที่สำคัญก็คือ ย่างกุ้ง เป็นที่ตั้งของตลาดหลักทรัพย์ย่างกุ้ง
หรือ Yangon Stock Exchange ที่ก่อตั้งขึ้นในปี 2015
ซึ่งเป็นตลาดหลักทรัพย์แห่งแรกของประเทศเมียนมา
และปัจจุบัน ตลาดหลักทรัพย์แห่งนี้ มีบริษัทจดทะเบียนอยู่ทั้งหมด 6 บริษัท
หรือ Yangon Stock Exchange ที่ก่อตั้งขึ้นในปี 2015
ซึ่งเป็นตลาดหลักทรัพย์แห่งแรกของประเทศเมียนมา
และปัจจุบัน ตลาดหลักทรัพย์แห่งนี้ มีบริษัทจดทะเบียนอยู่ทั้งหมด 6 บริษัท
แม้ว่าวันนี้ ย่างกุ้ง จะไม่ได้ดำรงฐานะเป็นเมืองหลวงของเมียนมาแล้ว
แต่จากที่ได้กล่าวมาทั้งหมดนี้ ก็คงจะปฏิเสธไม่ได้เลยว่า
เมืองหลวงเก่าแห่งนี้ คือเมืองที่มีความสำคัญอย่างมาก ต่อเศรษฐกิจประเทศเมียนมา..
แต่จากที่ได้กล่าวมาทั้งหมดนี้ ก็คงจะปฏิเสธไม่ได้เลยว่า
เมืองหลวงเก่าแห่งนี้ คือเมืองที่มีความสำคัญอย่างมาก ต่อเศรษฐกิจประเทศเมียนมา..
ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ
เมียนมา เป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่าง รวมไปถึงแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ
ซึ่งปัจจุบัน เมียนมานับเป็นหนึ่งในประเทศที่เป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติรายใหญ่ในเอเชียเลยทีเดียว..
----------------------
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
----------------------
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
เมียนมา เป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่าง รวมไปถึงแหล่งน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ
ซึ่งปัจจุบัน เมียนมานับเป็นหนึ่งในประเทศที่เป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติรายใหญ่ในเอเชียเลยทีเดียว..
----------------------
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
----------------------
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.macrotrends.net/cities/20339/yangon/population
-https://en.wikipedia.org/wiki/Thilawa_Special_Economic_Zone
-https://www.exim.go.th/eximinter/e-news/11285/enews_july2014_CLMV.html
-https://www.eyeonasia.gov.sg/asean-countries/know/overview-of-asean-countries/yangon-a-city
-https://elevenmyanmar.com/news/yangon-gdp-expected-to-hit-89-pc-next-fy
-https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.MKTP.CD?locations=MM
-https://marketdata.set.or.th/th/gms_exchanges/overview.html
-https://www.aseanbriefing.com/news/myanmar-opens-stock-market-to-foreign-investors
-https://ysx-mm.com/
-https://www.macrotrends.net/cities/20339/yangon/population
-https://en.wikipedia.org/wiki/Thilawa_Special_Economic_Zone
-https://www.exim.go.th/eximinter/e-news/11285/enews_july2014_CLMV.html
-https://www.eyeonasia.gov.sg/asean-countries/know/overview-of-asean-countries/yangon-a-city
-https://elevenmyanmar.com/news/yangon-gdp-expected-to-hit-89-pc-next-fy
-https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.MKTP.CD?locations=MM
-https://marketdata.set.or.th/th/gms_exchanges/overview.html
-https://www.aseanbriefing.com/news/myanmar-opens-stock-market-to-foreign-investors
-https://ysx-mm.com/